ให้บริการเกี่ยวกับรถโฟล์คลิฟท์ไฟฟ้า น้ำมัน และแก๊ส ในด้านการขาย เช่า ซ่อม อะไหล่ และบริการต่างๆ ที่เกี่ยวข้องอย่างครบวงจร โดยทางบริษัทขอแจ้งรายละเอียดในเรื่องสินค้าและบริการดังนี้ -บริการซ่อมบำรุงรถโฟล์คลิฟท์(forklift repair)ทั้งระบบไฟฟ้า น้ำมัน แก๊ส -บริการตรวจเช็คและบำรุงรักษารถโฟล์คลิฟท์(P.M.forklift)รายเดือนและรายปีฯลฯ Email:pcnforklift@hotmail.com, Tel: 086-5182510, ID:LINE pcnforklift06 หรือ @pcnforklift
วันอาทิตย์ที่ 31 ตุลาคม พ.ศ. 2553
Torque Converter
การทำงานของระบบเกียร์อัตโนมัติ ของรถยนต์กับรถโฟล์คลิฟท์จะคล้ายๆกัน
ชิ้นส่วนสำคัญที่สุดของเกียร์อัตโนมัติคือ“ทอร์คคอน เวอร์เตอร์”
หรือตัวตุ้มส่งกำลังที่ยึดติดกับแผงเหล็กต่อจากข้อ
เพลาข้อเหวี่ยงให้หมุนไปพร้อมกันนี่เอง
เพระามันจะเป็นตัวสั่งงานส่งกำลังขับเคลื่อนไปยังชุดเกียร์
ซึ่งถือเป็นอุปกรณ์ประ เภท “Fluid Coupling”
คือถ่ายทอดกำลังโดยใช้กำลังการไหลจากของเหลวแบบหนึ่ง
(ส่วนเรื่องเกียร์เปลี่ยนอัตราทดเป็น1-2-3
ได้อย่างไรนั้นเป็นอีกเรื่องที่จะยังไม่กล่าวถึง
เนื่องจากสลับซับซ้อนมีมากแบบเกินกว่าที่จะเข้าใจได้ด้วยการอ่านหนัง สือ
เพียงอย่างเดียว)
ในระบบเกียร์อัตโนมัติรุ่นแรก ๆ จะถูกออกแบบให้มีการถ่ายทอดกำลังการขับเคลื่อนจากเครื่องยนต์ไปยังชุดเกียร์เรียก
ว่า
Planetary Gear Set เป็นชุด ๆ สุดแต่ว่าจะมี 1 หรือ 2 อัตราทด ผ่านทาง
Fluid Coupling ซึ่งมีลักษณะเหมือนโดนัทใน
ขณะที่แกนกลางมีเฟืองไปขับเพลาเกียร์โดยที่ภายในมีแผ่นครีบหลาย ๆ
ใบเรียงซ้อนกันเพื่อตีวนน้ำมันเกียร์มีชื่อเรียกว่า “Torus Member”
การทำงานของ Fluid Coupling ก็คือน้ำมันจะถูกดูดเข้าไปใน Torus Member
ซึ่งเมื่อ Torus ถูกเหวี่ยงหมุนด้วยแรงเครื่องยนต์น้ำมันก็จะพยายามกระฉอก
ออกทางด้านนอกใน รูป C ใน ขณะที่มี Torus ซ้อนทับอีกด้านทำให้น้ำมันกระ
ฉอกออกไม่ได้ต้องหมุนวนอยู่ใน Torus ทั้ง สองแทนพร้อมกับหมุนไปรอบๆตัว
เองจากเพลาขับของเครื่องยนต์การขับเคลื่อนโดยของ เหลวในชุด Torus Member
นี้จะถูกจำกัดประสิทธิภาพทางเชิงกลของมันซึ่งหากต้องการประ
สิทธิภาพที่ดีขึ้นก็คงต้องเพิ่ม จำนวนชุดหรือขยายขนาดของ Fluid Coupling
ขึ้นไปซึ่งเป็น
เรื่องยุ่งยากมากจนกระทั่งมีการพัฒนาให้เป็นแบบที่เรียกว่า“ทอร์คคอน
เวอร์เตอร์”ชนิดที่ใช้ ในปัจจุบัน
“ทอร์คคอนเวอร์เตอร์”ชนิดที่ใช้ในปัจจุบันจะพัฒนาให้ของเหลวที่ขับดันไหล
เวียนในทอร์คมีการสับเปลี่ยนทิศทาง การไหลเพื่อเสริมแรงบิดซึ่งกันและกัน
โดยมีส่วนประกอบหลัก 4 ส่วนคือ
“ตัวเสื้อทอร์ค”ซึ่งบรรจุน้ำมันไว้
ภายในและด้านหนึ่งจะยึดเข้ากับ
เพลาข้อเหวี่ยงส่วนีกด้านเป็นปลอกที่มีเฟืองหรือบากไปขับชุดปั๊มน้ำ
มันในเกียร์
“ส่วน Impeller”
ซึ่งจะมีครีบเชื่อมติดกับเสื้อทอร์คหมุนไปพร้อมกับ
เพลาข้อเหวี่ยงและจะสลัดเหวี่ยงน้ำมันออกจากศูนย์กลางไปตามแนว
บิดตัวของครีบ (Vane) ออกสู่ด้านนอกเพื่อให้ไหลไปยังครีบของเทอร์
ไบน์ที่อยู่ตรงข้ามกัน
“ส่วนเทอร์ไบน์”
เป็นส่วนกลางจะมีเฟืองต่อไปขับเพลาเกียร์โดยที่
อาจมีชุดสปริงเหมือนในแผ่นคลัทช์แห้ง ทั่วไปเพื่อรองรับแรงบิดให้
ออกรถได้นุ่มนวลขึ้น และเทอร์ไบน์จะหมุนตามแรงเฉื่อยที่เกิดจากน้ำ
มันที่ถูก Impeller ดันผ่านมา โดยที่น้ำมันจะไหลวนจากด้านนอกเทอร์
ไบน์ที่ส่งผ่านมาจาก Impeller และไหลตามทิศทางของครีบเทอร์ไบน์
กลับเข้าสู่ศูนย์กลางและไหลผ่านครีบของสเตเตอร์ที่ทำจากอลูมิเนียม
และหมุนฟรีอยู่ระหว่างเทอร์ไบน์กับอิมเพลเลอร์
“Stator”
ทำหน้าที่หักเหทิศทางการไหลของน้ำมันจากเทอร์ไบน์ให้
กลับไปช่วยดันเสริมการไหลของน้ำมันที่เกิดจากแรงเหวี่ยงหนีศูนย์ กลางในชุด
Impeller และไหลไปขับเทอร์ไบน์เวียนกันไปเช่นนี้เพื่อเพิ่มแรงบิดให้
รถออกตัวได้ง่ายขึ้นจนกระทั่งเมื่อความ
เร็วรอบเครื่องสูงมากและน้ำมันไหลเวียนเร็วขึ้นจนทำให้ Stator
หมุนเร็วขึ้นจนใกล้ความเร็วเทอร์ไบน์ ในขณะที่เทอร์ไบน์
ก็จะมีความเร็วเทียบเท่า Impeller ครีบที่ Stator
ก็จะหมุนตามเทอร์ไบน์จนการเปลี่ยนหรือหักเหทิศทางน้ำมันแทบไม่มีเหลือ
อยู่พอที่จะเป็นผลให้ช่วยผลักดัน Impeller ต่อไป
นั่นคือช่วงที่รถยนต์มีความเร็วสูงพอและไม่ต้องการแรงบิดมากมายเท่า
ตอนที่เริ่มออกรถอีกต่อไป
หลักการนี้สามารถเสริมประสิทธิภาพให้ทอร์คคอนเวอร์เตอร์สร้างแรงบิดเพิ่ม
ขึ้นได้ ด้วยการเพิ่มมุมเอียงของครีบ และ ขนาดรูปร่างที่ถูกแก้ไข
เพื่อให้น้ำมันที่ไหลวนอยู่ภายในสามารถรีดความเร็วและแรงขับดันออกมาได้เร็ว
และรุนแรงขึ้นอีก
ทั้งเสริมสร้างและใช้วัสดุที่ประกอบเป็นครีบที่แข็งแรงขึ้น
เพื่อให้ต้านทานแรงม้ามหาศาลในเครื่องยนต์ที่ใช้ในการแข่งขัน
และจะมีประสิทธิภาพเพิ่มมากขึ้นหากโมดิฟายครีบที่เอียงของสเตเตอร์
อันเป็นตัวหักเหทางเดินน้ำมันระหว่างเทอร์ไบน์
และอิมเพลเลอร์เพื่อเสริมแรงดันการไหลของน้ำมันให้ได้สูงสุด (Maximum
Torque Multiplication) ดังที่กล่าวไปแล้ว
PCN FORKLIFT THAILAND
ดำเนินธุรกิจให้บริการเกี่ยวกับรถโฟร์คลิฟท์ไฟฟ้า น้ำมัน และแก๊ส ในด้านการขาย เช่า ซ่อม อะไหล่ และบริการต่างๆ ที่เกี่ยวข้องอย่างครบวงจร ทางบริษัท มุ่งเน้นการบริการที่รวดเร็ว เพื่อไม่ให้กระทบต่อผลประกอบการของลูกค้าหรือให้ส่งผลน้อยที่สุดโดยทางบริษัทขอแจ้งรายละเอียดในเรื่องสินค้าและบริการดังนี้
-บริการซ่อมบำรุงรถโฟร์คลิฟท์(forklift repair)ทั้งระบบไฟฟ้า น้ำมัน แก๊ส
-บริการตรวจเช็คและบำรุงรักษารถโฟร์คลิฟท์(P.M.forklift)รายเดือนและรายปี
-บริการซ่อมแฮนดพาเลท ทุกชนิด
-จำหน่ายอะไหล่ทุกยี่ห้อ
-ให้บริการทั่วประเทศไทย
สนใจติดต่อ คุณ นิภาพร 0865305606 029958850
http://www.pcnforklift.com/
Gear Animation
PCN FORKLIFT THAILAND
ดำเนินธุรกิจให้บริการเกี่ยวกับรถโฟร์คลิฟท์ไฟฟ้า น้ำมัน และแก๊ส ในด้านการขาย เช่า ซ่อม อะไหล่ และบริการต่างๆ ที่เกี่ยวข้องอย่างครบวงจร ทางบริษัท มุ่งเน้นการบริการที่รวดเร็ว เพื่อไม่ให้กระทบต่อผลประกอบการของลูกค้าหรือให้ส่งผลน้อยที่สุดโดยทางบริษัทขอแจ้งรายละเอียดในเรื่องสินค้าและบริการดังนี้
-บริการซ่อมบำรุงรถโฟร์คลิฟท์(forklift repair)ทั้งระบบไฟฟ้า น้ำมัน แก๊ส
-บริการตรวจเช็คและบำรุงรักษารถโฟร์คลิฟท์(P.M.forklift)รายเดือนและรายปี
-บริการซ่อมแฮนดพาเลท ทุกชนิด
-จำหน่ายอะไหล่ทุกยี่ห้อ
-ให้บริการทั่วประเทศไทย
สนใจติดต่อ คุณ นิภาพร 029958850 , 0865182510 ,0865305606
http://www.pcnforklift.com/
การวิเคราะห์การสึกหรอเครื่องยนต์ของรถโฟล์คลิฟท์และหลักซ่อมก่อนเสีย
การวิเคราะห์การสึกหรอเครื่องยนต์และหลักซ่อมก่อนเสีย
การสึกหรอของเครื่องยนต์
การสึกหรอของเครื่องยนต์จำแนกออกเป็น 2 ประเภท คือ การสึกหรอโดยปกติและการสึกหรอผิดปกติ
ชิ้นส่วนหลักที่อายุการใช้งานสั้น
|
- กระบอกสูบ
- แหวนสูบ
- ซีลและแบริ่งของเทอร์โบชาร์จ
- ลิ้น ปลอกก้านลิ้นและบ่าลิ้น
- แบริ่งเพลาข้อเหวี่ยงและแบริ่งก้านสูบ
|
การสึกหรอปกติ
การสึกหรอปกติจะเกิดกับเครื่องยนต์ทุกเครื่องในชิ้นส่วนที่มีการเสียดสี หรือถูไถ หรือต้องทำงานร่วมกับส่วนอื่นๆ โดยทั่วไปแล้วการสึกหรอจะเกิดขึ้นในทุกเครื่องยนต์ตลอดอายุการใช้งาน อันจะรวมถึงการสึกหรอในแหวนลูกลูบ เสื้อสูบ ลิ้น ปลอกก้านลิ้นแบริ่ง และถ้ามีเทอร์โบชาร์จ ก็จะรวมถึงแบริ่งเทอร์โบชาร์จ
และซีลด้วย
การสึกหรอที่ผิดปกติ
การสึกหรอที่ผิดปกติ คือ การสึกหรอนอกเหนือจากการสึกหรอปกติจากการทำงานของเครื่องยนต์ ซึ่งโดยทั่วไปแล้ว การสึกหรอที่ผิดปกติจะเกิดจากการบำรุงรักษาหรือการใช้เครื่องยนต์อย่างผิดวิธี เช่น การใช้น้ำมันเครื่องไม่ถูกต้อง ทิ้งช่วงห่างระหว่างการเปลี่ยนน้ำมันเครื่องนานเกินไป หรือการอุ่นเครื่องไม่เพียงพอก่อนใช้งานเหล่านี้ล้วนเป็นสาเหตุนำไปสู่การสึกหรอผิดปกติ หรืออาจทำให้เครื่องยนต์ชำรุดได้ก่อนถึงเวลาอันควร
ชิ้นส่วนดังกล่าวมีราคาถูก เมื่อเปรียบเทียบกับชิ้นส่วนอื่น และถ้ามีการเปลี่ยนอะไหล่ตรงตามเวลาที่กำหนดอย่างถูกต้องแล้ว จะไม่ต้องเปลี่ยนชิ้นส่วนอื่นที่ราคาแพง เช่น ฝาสูบ เสื้อสูบ เพลาข้อเหวี่ยง ก้านสูบ อีกเลย เพราะว่าจะไม่เกิดการเสียหายลุกลามไปถึงชิ้นส่วนนั้น
แนวคิดนี้เป็นหลักสำคัญในการวางแผนเพื่อการซ่อมบำรุงก่อนที่จะมีความเสียหายเกิดขึ้น ลองเปรียบเทียบดูว่าการซ่อมก่อนเสียและซ่อมหลังเสียแตกต่างกันอย่างไร และการซ่อมก่อนเสียจะให้ประโยชน์เช่นไรบ้าง
ในตัวอย่างการซ่อมหลังเสียต่อไปนี้ ผู้ใช้เครื่องยนต์ละเลยไม่สนใจกับอาการบอกสาเหตุของเครื่องยนต์ ยังคงใช้งานต่อไป จนกระทั่งแบริ่งเพลาข้อเหวี่ยงชำรุด ซึ่งยังส่งผลให้เพลาดังกล่าวเสียหายมาก กล่าวคือ เสียหายจนไม่อาจนำไปเชื่อมพอกเพื่อนำกลับไปใช้อีกได้ ทำให้ต้องเสียค่าใช้จ่ายเป็นอันมาก
ส่วนในกรณีของการซ่อมก่อนเสียนั้น เครื่องยนต์จะได้รับการบำรุงรักษาอย่างถูกต้องและผู้ใช้คอยตรวจดูสิ่งบอกอาการ เช่น เมื่อพบกรวิเคราะห์ตัวอย่างน้ำมันเครื่อง มีเศษโลหะแบริ่งแสดงว่ามีการสึกหรอของแบริ่ง ผู้ใช้เครื่องยนต์ต้องรีบกำหนดวันซ่อมทันที ก่อนที่จะเกิดการชำรุดลุกลาม โดยการเปลี่ยนแบริ่งซึ่งราคาไม่แพง และช่วยป้องกันความเสียหายแก่เพลาข้อเหวี่ยง หรือส่วนอื่นๆได้ จากตัวอย่างที่ยกมา สามารถสรุปถึงผลประโยชน์ที่ผู้ใช้เครื่องยนต์จะได้รับหากเขาใช้แนวคิดของการซ่อมก่อนเสีย ดังต่อไปนี้
1. การซ่อมก่อนเสีย สามารถหยุดยั้งปัญหาได้ก่อนที่ความเสียหารจะลุกลามไปถึงชิ้นส่วนอื่นๆ ของเครื่องยนต์ ผู้ใช้เครื่องยนต์สามารถหลีกเหลี่ยงความเสียหายแก่เพลาข้อเหวี่ยงลูกสูบ ลิ้น เพลาราวลิ้น และส่วนอื่นๆ ได้ด้วยการซ่อมก่อนเสีย
2. การซ่อมก่อนเสีย จะช่วยหลีกเลี่ยงค่าแรงงานที่ไม่จำเป็นได้ดังตัวอย่างค่าแรงงานสำหรับการยกเครื่องยนต์ออกจากตัวรถยนต์จะไม่เกิดขึ้น เพราะว่าการซ่อมสามารถการะทำได้โดยไม่ต้องยกเครื่อง ซึ่งหมายความว่าค่าแรงจะน้อยลง
ระยะเวลาสำหรับการยกเครื่องจะแตกต่างกันไป แล้วแต่รุ่นรถ ตำแหน่งเครื่อง ความยากง่ายในการถอดและส่วนประกอบอื่นๆ ดังนั้นการซ่อมโดยเครื่องยนต์อยู่กับที่จึงใช้เวลาค่าแรงน้อยกว่า สำหรับลูกค้าแล้ว การซ่อมก่อนเสียจะมีประโยชน์คือ มีส่วนที่จะต้องเปลี่ยนอะไหล่น้อยจุดเสียเวลาและค่าแรงจะต่ำด้วย
3. การซ่อมก่อนเสีย ช่วยลดเวลาที่จะซ่อม เพราะการซ่อมจะใช้เวลาน้อยกว่าการซ่อมหลังเสีย โดยทั่วๆ ไปแล้ว จะกลับใช้งานได้เร็วกว่าการซ่อมหลังเสียเป็นเวลา 3 ถึง 10 วัน และบ่อยครั้ง การซ่อมจะกินเวลาน้อยลงได้ถึงครึ่งหนึ่งทีเดียว
4. การซ่อมก่อนเสียจะป้องกันมิให้เกิดความเค้นในเนื้อวัสดุ (Stress) และความเสียหายลุกลามติดต่อไปยังชิ้นส่วนอื่นๆ ของระบบส่งกำลัง เช่น คลัตช์ทอร์กคอนเวอร์เตอร์ และกระปุกเกียร์
การซ่อมก่อนเสีย 3 ขั้นตอน
|
- บำรุงรักษาตามกำหนด (Preventive
Maintenance)
- คอยสังเกตสิ่งที่บ่งบอกอาการไม่ดี
- ดำเนินการซ่อม
|
5. การซ่อมก่อนเสีย เปิดโอกาสให้ผู้ใช้รถได้วางแผนกำหนดเวลาจอดซ่อมได้ตามสะดวก
วิธีการซ่อมก่อนเสียมี 3 ขั้นตอน
1. ให้การบำรุงรักษาตามกำหนดอย่างสม่ำเสมอเพื่อให้ทุกระบบอยู่ในสภาพดี
2. คอยสังเกตสิ่งที่บอกอาการ เพื่อจะได้ทราบปัญหาแต่เนิ่นๆ ซึ่งทราบได้ เมื่อเครื่องยนต์มีอาการ เช่น กินน้ำมันเครื่องมากหรือมีควันดำมาก เป็นต้น
3. รีบแก้ไขอาการที่พบ เพื่อป้องกันมิให้ความเสียหายลุกลามออกไป ซึ่งจะประหยัดค่าใช้จ่ายได้ด้วยการซ่อมก่อนเสีย
กุญแจสำคัญในการซ่อมก่อนเสีย คือ จะต้องสังเกตอาการที่แสดงว่าจะมีการสึกหรอผิดปกติของเครื่องยนต์ หากพบอาการและลงมือแก้ไขแต่เนิ่นๆ แล้ว ก็สามารถแก้ปัญหาได้อย่างง่ายดายและเสียค่าใช้จ่ายน้อย อย่าละเลยเพิกเฉยกับอาการผิดปกติของเครื่องยนต์นะครับ
WWW.PCNFORKLIFT.COM
WWW.PCNFORKLIFT.COM
วันเสาร์ที่ 30 ตุลาคม พ.ศ. 2553
Remote Control Toy Forklift Set
รถโฟล์คลิฟท์บังคับ โดยใช้รีโมทคอนโทรล
Overview:
Thankfully, you won't need a class LF Forklift Driver's License to operate our remote controlled toy forklift. This realistic forklift toy features a working lift device, a small crate, and four orange cones (for cordoning off your work zone).
Perfect your warehouse stacking skills with the mini r/c forklift. Or put a Twinkie (yum) and some firecrackers on it and see what happens (watch the entire video to literally see what we're talking about)
Perfect your warehouse stacking skills with the mini r/c forklift. Or put a Twinkie (yum) and some firecrackers on it and see what happens (watch the entire video to literally see what we're talking about)
Features & specs:
- 8" long x 4" tall x 2.75" wide
- Fully functional fork
- Includes pallet, crate, and four orange cones
- Requires 4 AAA batteries and 1 9V battery (none are included)
PCN FORKLIFT THAILAND
ดำเนินธุรกิจให้บริการเกี่ยวกับรถโฟร์คลิฟท์ไฟฟ้า น้ำมัน และแก๊ส ในด้านการขาย เช่า ซ่อม อะไหล่ และบริการต่างๆ ที่เกี่ยวข้องอย่างครบวงจร ทางบริษัท มุ่งเน้นการบริการที่รวดเร็ว เพื่อไม่ให้กระทบต่อผลประกอบการของลูกค้าหรือให้ส่งผลน้อยที่สุดโดยทางบริษัทขอแจ้งรายละเอียดในเรื่องสินค้าและบริการดังนี้
-บริการซ่อมบำรุงรถโฟร์คลิฟท์(forklift repair)ทั้งระบบไฟฟ้า น้ำมัน แก๊ส
-บริการตรวจเช็คและบำรุงรักษารถโฟร์คลิฟท์(P.M.forklift)รายเดือนและรายปี
-บริการซ่อมแฮนดพาเลท ทุกชนิด
-จำหน่ายอะไหล่ทุกยี่ห้อ
-ให้บริการทั่วประเทศไทย
สนใจติดต่อ คุณ นิภาพร 0865305606 029958850
http://www.pcnforklift.com/
Forklift Truck Simulator 2009 HD gameplay
เกมฝึกหัดขับรถโฟล์คลิฟท์ เป็นการจำลองสภาพเสมือนจริง ขณะขับรถโฟล์คลิฟท์
เหมาะสำหรับก่อนจะไปฝึกขับรถโฟล์คลิฟท์ของจริง
Take on the role as a forklift truck driver and take your place in these highly detailed vehicles. In Forklift Truck Simulator 2009 your task is to master different missions in varying environments. For example you must load and unload trucks and trains within a time limit or store goods in the big warehouse. Different vehicles from the company STILL are at your disposal in the vehicle park.An extensive training mode allows you to get acquainted with the controls of the vehicles and acquire the license necessary for missions. A free mode where the player chooses himself what to do with the forklift and the goods finishes off this simulator. With Forklift Truck Simulator 2009 you get a realistic forklift experience on your own PC.Features :* Original vehicles from STILL.* 6 varied missions.* Training mode for obtaining the license.* 3 different forklifts with differentproperties.System Requirements :* OS: Windows XP/Vista* Processor: Pentium IV 1.8 GHz or Better* Memory: 512 MB* Hard Drive: 300 MB Free* Video Memory: DirectX Compatible* Sound Card: DirectX Compatible* DirectX: 9.0c* Keyboard & Mouse* CD Rom Drive
PCN FORKLIFT THAILAND
ดำเนินธุรกิจให้บริการเกี่ยวกับรถโฟร์คลิฟท์ไฟฟ้า น้ำมัน และแก๊ส ในด้านการขาย เช่า ซ่อม อะไหล่ และบริการต่างๆ ที่เกี่ยวข้องอย่างครบวงจร ทางบริษัท มุ่งเน้นการบริการที่รวดเร็ว เพื่อไม่ให้กระทบต่อผลประกอบการของลูกค้าหรือให้ส่งผลน้อยที่สุดโดยทางบริษัทขอแจ้งรายละเอียดในเรื่องสินค้าและบริการดังนี้
-บริการซ่อมบำรุงรถโฟร์คลิฟท์(forklift repair)ทั้งระบบไฟฟ้า น้ำมัน แก๊ส
-บริการตรวจเช็คและบำรุงรักษารถโฟร์คลิฟท์(P.M.forklift)รายเดือนและรายปี
-บริการซ่อมแฮนดพาเลท ทุกชนิด
-จำหน่ายอะไหล่ทุกยี่ห้อ
-ให้บริการทั่วประเทศไทย
สนใจติดต่อ คุณ นิภาพร 0865305606 029958850
http://www.pcnforklift.com/
Forklift Safety Training DVD: Safe Operation & Accident Prevention - Saf...
PCN FORKLIFT THAILAND
ดำเนินธุรกิจให้บริการเกี่ยวกับรถโฟร์คลิฟท์ไฟฟ้า น้ำมัน และแก๊ส ในด้านการขาย เช่า ซ่อม อะไหล่ และบริการต่างๆ ที่เกี่ยวข้องอย่างครบวงจร ทางบริษัท มุ่งเน้นการบริการที่รวดเร็ว เพื่อไม่ให้กระทบต่อผลประกอบการของลูกค้าหรือให้ส่งผลน้อยที่สุดโดยทางบริษัทขอแจ้งรายละเอียดในเรื่องสินค้าและบริการดังนี้
-บริการซ่อมบำรุงรถโฟร์คลิฟท์(forklift repair)ทั้งระบบไฟฟ้า น้ำมัน แก๊ส
-บริการตรวจเช็คและบำรุงรักษารถโฟร์คลิฟท์(P.M.forklift)รายเดือนและรายปี
-บริการซ่อมแฮนดพาเลท ทุกชนิด
-จำหน่ายอะไหล่ทุกยี่ห้อ
-ให้บริการทั่วประเทศไทย
สนใจติดต่อ คุณ นิภาพร 0865305606 029958850
http://www.pcnforklift.com/
ความรู้เกี่ยวกับรถโฟล์คลิฟท์,โฟร์คลิฟท์,ฟอร์คลิฟท์,FORKLIFT
ความรู้เกี่ยวกับรถโฟล์คลิฟท์,โฟร์คลิฟท์,ฟอร์คลิฟท์,FORKLIFT
เอาความรู้เกี่ยวกับโฟร์คลิฟท์ มาฝากครับ :: ความหมายและประเภทของรถยก รถยก หรือ "โฟร์คลิฟท์" หรือ "ฟอร์คลิฟท์" มาจากคำภาษา อังกฤษว่า "FORKLIFT" ซึ่งเป็นการผสมคำสองคำ คือ "FORK" ที่แปลว่า "ช้อนส้อม" และ คำว่า "LIFT" ที่แปลว่า "การขึ้นลงในแนว ประเภทและชนิดของ.. รถยก รถยกแบ่งออกตามประเภทของต้นกำลังขับเคลื่อนได้ 2 ประเภท คือ 1. ENGINE FORKLIFT รถยกที่ใช้เครื่องยนต์เป็นต้นกำลัง โดยใช้นำมันเป็นเชื้อเพลิง รถยกประเภทนี้สามารถแบ่งออกตามชนิดเชื้อเพลิงที่ใช้ได้ 3 ประเภท คือ
1.1) DIESEL ENGINE (เครื่องยนต์ดีเซล)
1.2) GASOLINE ENGINE (เครื่องยนต์แก๊สโซลีน)
1.3) L.P.G. ENGINE (เครื่องยนต์แก๊ส L.P.G.)
นอกจากนั้นรถยกที่ใช้เครื่องยนต์เป็นต้นกำลัง สามารถแบ่งตามระบบส่งกำลังได้ 2 ประเภท
- ระบบส่งกำลังด้วยทอร์ค (TOROFLOW TRANSMISSION)
- ระบบส่งกำลังด้วยคลัทซ์ (DIRECT DRIVE) 2. BATTERY FORKLIFT
รถยกไฟฟ้าใช้มอเตอร์เป็นต้นกำลังขับเคลื่อนโดยได้รับกระแสไฟฟ้ามาจากแบตเตอรี่ รถยกไฟฟ้าสามารถแบ่งตามลักษณะโครงสร้างภายนอกได้เป็น 2 แบบ คือ
- แบบ COUNTER BALANCIT (แบบนั่งขับ)
- แบบ REACH TURCK (แบบยืนขับ)
:: อุปกรณ์และชิ้นส่วนต่าง ๆ ของรถยก
1. เสารถยก (Mast) คือ อุปกรณ์รางเลื่อนให้งาขึ้น-ลง โดยทั่วไปเสารถยกจะมี 2 ท่อน ซึ่งยกได้ประมาณ 3 เมตร แต่ถ้าต้องการยกได้สูประมาณ 5-6 เมตร จะต้องเปลี่ยนเสาให้สูงขึ้น หรือ ใช้เสา 3 ท่อน Full Free Mast คือ อุปกรณ์พิเศษของเสา เป็นเสาที่สามารถนำไปใช้ในสถานที่ที่มีความจำกัด
2. กระบอกไฮดรอลิค (Hydraulic) โดยมาตราฐาน รถยกจะมีกระบอกไฮดรอลิคอยู่จำนวน 3 ชุดดังนี้ 2.1) กระบอกยก คือ กระบอกไฮดรอลิคที่ทำหน้าที่ยกงาขึ้นลง มีสองกระบอก
2.2) กระบอกคว่ำ-หงาย คือ กระบอกไฮดรอลิคที่ทำหน้าที่เอียงเสาไปหน้าและหลัง มีสองกระบอก
2.3) กระบอกบังคับเลี้ยว คือ กระบอกไอดรอลิคที่ทำหน้าที่บังคับการเลี้ยวของรถยก มีหนึ่งกระบอก
3. งารถยก (Fork) คือ อุปกรณ์ที่ใช้ยกสัมภาระต่าง ๆ และงารถยกยังเป็นอุปกรณ์ที่ "อันตราย" ที่สุด งานของรถยกมีหลายประเภท ขึ้นอยู่กับลักษณะของสัมภาระที่จะยก
4. ล้อหน้า (Front Wheel) คือ ล้อที่มีหน้าที่ 3 ประการ ดังนี้
4.1) รับน้ำหนักบรรทุก หรือ ล้อโหลด
4.2) ขับเคลื่อน
4.3) เบรค ล้อของรถยกไฟฟ้าแบบยืนขับ จะมีล้ออยู่ 3 ชนิด ดังนี้ - ล้อรับน้ำหนักบรรทุก หรือ ล้อโหลด - ล้อขับเคลื่อน - ล้อประคอง
5. ล้อหลัง (Rear Wheel) คือ ล้อที่ทำหน้าที่บังคับเลี้ยวเพียงอย่างเดียว
:: ทำไมเราต้องตรวจสภาพรถยก ก่อน และ หลัง การใช้งาน
1. เพื่อให้รถยกมีสภาพพร้อมใช้งาน
2. เพื่อความปลอดภัยของคนขับรถยกและผู้ร่วมงาน
3. เพื่อประหยัดค่าใช้จ่ายให้กับองค์กร
:: การสังเกตุการทำงานของรถยก การสังเกตุการทำงานของรถยก หมายถึง ในขณะที่ใช้งานรถยกระหว่างวัน จะต้องคอยสังเกตการทำงานของอุปกรณ์ต่าง ๆ ของรถยกด้วย ว่ามีสิ่งผิดปกติเกิดขึ้นหรือไม่ เช่น 1.) การทำงานของเบรค เช่น เมื่อใช้เบรคจะมีเสียงดัง หรือ เบรคไม่อยู่ 2.) การทำงานของเครื่องยนต์ เช่น เร่งเครื่องแล้วสะดุด หรือ มีเสียงผิดปกติ 3.) สังเกตุเกย์วัดอุณหภูมิของเครื่องยนต์อยู่เสมอ ถ้าพบสิ่งผิดปกติจะต้องรีบดำเนินการแก้ไข 4.) สังเกตุการทำงานของระบบไฮดรอลิค เช่น เวลายกสัมภาระจะต้องเร่งเครื่องยนต์มากขึ้น หรือ เวลาเลี้ยวใช้แรงมากขึ้น
:: การจ่ายไฟของแบตเตอรี่รถยก เมื่อ Cell แบตเตอรรี่ถูกชาร์ด้วยพลังงานไฟฟ้า Cell จะเปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานเคมี และเก็บรักษาไว้ เมื่อทำการจ่ายไฟ Cell จะเปลี่ยนพลังงานเคมีกลับเป็นพลังงานไฟฟ้า และสำหรับ Cell ที่ใช้เป็นพลังงานขับเคลื่อนรถโฟร์คลิฟท์ คือ แบตเตอรี่ชนิด ตะกั่ว + กรด (Lead acid storage batterry)
:: ข้อดีของการใช้แบตเตอรี่ชนิด ตะกั่ว + กรด 1.) สามารถเก็บพลังงานและนำไปใช้ในสถานที่ต่าง ๆ ได้ โดยไม่มีสายไฟต่อพลังงานไฟฟ้าจากที่อื่น 2.) เป็นกระแสไฟฟ้า DC ที่ไหลสม่ำเสมอ ซึ่งเป็นผลดีต่อ Speed controller ในการขับเคลื่อนมอเตอร์ 3.) มีความคงทน และอายุยาวนาน ทนต่อการสั่นสะเทือนและแรงกระแทกได้ดี 4.) ไม่มีเสียงดังรบกวนในขณะใช้งาน ซึ่งเป็นการป้องกันมลภาวะทางเสียงและอากาศ 5.) เป็นการง่ายในการดูแลบำรุงรักษา และการนำไปใช้งาน โดยผู้ใช้งานที่ไม่ต้องมีความรู้มากนัก และการดูแลก็เพียงแต่เตรียมน้ำกลั่นไว้เติมเมื่อระดับนำกรดพร่องเท่านั้น
:: การบำรุงรักษาแบตเตอรี่และข้อควรระวังในการชาร์จแบตเตอรี่
1.) อายุการใช้งานของแบตเตอรี่ขึ้นอยู่กับจำนวนครั้งในการชาร์จ ดังนั้น ควรจะชาร์จแบตเตอรี่ก็ต่อเมื่อได้ใช้กระแสไฟฟ้าใกล้จะหมด และในการชาร์จแต่ละครั้งจะต้องชาร์จต่อเนื่องเป็นเวลา 8 ชั่วโมงติดต่อกัน 2.) บริเวณที่ใช้เป็นที่ชาร์จแบตเตอรี่จะต้องเป็นสถานที่ที่อากาศสามารถถ่ายเทได้ดี เนื่องจากในขณะที่ชาร์จ น้ำกลั่นจะระเหยออกมา
3.) ก่อนทำการชาร์จแบตเตอรี่จะต้องเปิดฝาจุดเติมน้ำกลั่น เพื่อตรวจเช็คระดับน้ำกลั่นให้อยู่ในระดับพอดี และตรวจสอบสภาพปลั๊กไฟว่าอยู่ในสภาพที่สมบูรณ์ ไม่ชำรุด หรือแตกร้าว หรือไม่ถ้าชำรุดจะต้องดำเนินการแก้ไขก่อนทำการชาร์จ
4.) จะต้องเสียบปลั๊กของแบตเตอรี่กับตู้ชาร์จให้แน่น เพื่อไม่ให้เกิดการอาร์ดของกระแสไฟ
5.) จะต้องตรวจสอบขั้ว สะถานไฟ สายไฟ ของแบตเตอรี่ให้อยู่ในสภาพที่สมบูรณ์
6.) ถ้าขั้วแบตเตอรี่ และผิวของแบตเตอรี่ด้านบนสกปรก หรือมีขี้เกลือเกาะให้ทำความสะอาดด้วยน้ำร้อน และเช็ดให้แห้ง
7.) ควรให้ช่างผู้ชำนาญงานตรวจเช็คค่าถ่วงนำเพาะ และแรงดันของเซลล์แบตเตอรี่แต่ละเซลล์ว่าอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานหรือไม่ อย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง
:: การบำรุงรักษาประจำวัน ก่อนติดเครื่อง
1. ตรวจดูความสะอาดภายนอก
2. ตรวจระดับน้ำในหม้อน้ำและหม้อพักน้ำ
3. ตรวจระดับน้ำมันเครื่อง
4. ตรวจดูระดับน้ำมันเชื้อเพลิง
5. ตรวจดูระดับน้ำมันเกียร์อัตโนมัติ
6. ตรวจระดับน้ำมันไฮโดรลิค
7. ตรวจระดับน้ำมันเกียร์พวงมาลัย
8. ตรวจดูระดับน้ำมันเบรค
9. ตรวจระดับน้ำกลั่นแบตเตอรี่
10. ตรวจความตึงของสายพานเครื่องยนต์
11. ตรวจการทำงานของเบรคมือและขาเบรค
12. ตรวจระบบสัญญาณไฟเลี้ยว ไฟถอยหลัง ไฟส่องสว่างและสัญญาณแตร
13. ตรวจสภาพความตึงของโซ่ยกของ
14. ตรวจสภาพยาง
15. ตรวจวัดลมยางและเติมให้ได้แรงดันตามที่กำหนดไว้
16. ตรวจรอยรั่วซึมตามจุดต่าง ๆ
หลังติดเครื่อง
1. ตรวจเช็คว่ามีเสียงดังผิดปกติจากเครื่องยนต์หรือไม่
2. ตรวจดูไฟที่หน้าปัดดับหมดหรือไม่
3. ตรวจระยะฟรีของพวงมาลัยและการบังคับเลี้ยว
4. ตรวจการทำงานของชุดควบคุมอุปกรณ์ยกงาว่าทำงานเรียบร้อยหรือไม่
หลังการใช้งาน ขณะเครื่องยนต์ยังติดอยู่
1. จอดรถในสถานที่จอดรถกำหนดไว้
2. ลดงาของรถให้อยู่ในแนวราบกับพื้นโรงงาน
3. ล็อคเบรคมือให้เรียบร้อย
4. หล่อลื่นตามจุดต่าง ๆ ให้เรียบร้อย เช่น โซ่ยกของ ชุดแผ่นทองเหลืองหลังเสา
5. ตรวจเช็คดูการรั่วซึมจากการใช้งาน เช่น น้ำมันไฮโดรลิค น้ำมันเกียร์ น้ำมันเครื่อง และน้ำในหม้อน้ำ
6. ตรวจเช็คฟังเสียงว่ามีเสียงอะไรผิดปกติหรือไม่
7. หลังจากการใช้งาน ควรปล่อยให้เครื่องยนต์เดินเบาในตำแหน่งเกียร์ว่างประมาณ 3 นาที จึงค่อยดับเครื่องยนต์
หลังดับเครื่องยนต์
1. เติมน้ำมันให้เต็มถังเพื่อพร้อมการใช้งานในวันต่อไป
2. ปลดเกียร์ว่างไว้เสมอ และดึงลูกกุญแจรถออกเก็บยังที่เก็บ
เอาความรู้เกี่ยวกับโฟร์คลิฟท์ มาฝากครับ :: ความหมายและประเภทของรถยก รถยก หรือ "โฟร์คลิฟท์" หรือ "ฟอร์คลิฟท์" มาจากคำภาษา อังกฤษว่า "FORKLIFT" ซึ่งเป็นการผสมคำสองคำ คือ "FORK" ที่แปลว่า "ช้อนส้อม" และ คำว่า "LIFT" ที่แปลว่า "การขึ้นลงในแนว ประเภทและชนิดของ.. รถยก รถยกแบ่งออกตามประเภทของต้นกำลังขับเคลื่อนได้ 2 ประเภท คือ 1. ENGINE FORKLIFT รถยกที่ใช้เครื่องยนต์เป็นต้นกำลัง โดยใช้นำมันเป็นเชื้อเพลิง รถยกประเภทนี้สามารถแบ่งออกตามชนิดเชื้อเพลิงที่ใช้ได้ 3 ประเภท คือ
1.1) DIESEL ENGINE (เครื่องยนต์ดีเซล)
1.2) GASOLINE ENGINE (เครื่องยนต์แก๊สโซลีน)
1.3) L.P.G. ENGINE (เครื่องยนต์แก๊ส L.P.G.)
นอกจากนั้นรถยกที่ใช้เครื่องยนต์เป็นต้นกำลัง สามารถแบ่งตามระบบส่งกำลังได้ 2 ประเภท
- ระบบส่งกำลังด้วยทอร์ค (TOROFLOW TRANSMISSION)
- ระบบส่งกำลังด้วยคลัทซ์ (DIRECT DRIVE) 2. BATTERY FORKLIFT
รถยกไฟฟ้าใช้มอเตอร์เป็นต้นกำลังขับเคลื่อนโดยได้รับกระแสไฟฟ้ามาจากแบตเตอรี่ รถยกไฟฟ้าสามารถแบ่งตามลักษณะโครงสร้างภายนอกได้เป็น 2 แบบ คือ
- แบบ COUNTER BALANCIT (แบบนั่งขับ)
- แบบ REACH TURCK (แบบยืนขับ)
:: อุปกรณ์และชิ้นส่วนต่าง ๆ ของรถยก
1. เสารถยก (Mast) คือ อุปกรณ์รางเลื่อนให้งาขึ้น-ลง โดยทั่วไปเสารถยกจะมี 2 ท่อน ซึ่งยกได้ประมาณ 3 เมตร แต่ถ้าต้องการยกได้สูประมาณ 5-6 เมตร จะต้องเปลี่ยนเสาให้สูงขึ้น หรือ ใช้เสา 3 ท่อน Full Free Mast คือ อุปกรณ์พิเศษของเสา เป็นเสาที่สามารถนำไปใช้ในสถานที่ที่มีความจำกัด
2. กระบอกไฮดรอลิค (Hydraulic) โดยมาตราฐาน รถยกจะมีกระบอกไฮดรอลิคอยู่จำนวน 3 ชุดดังนี้ 2.1) กระบอกยก คือ กระบอกไฮดรอลิคที่ทำหน้าที่ยกงาขึ้นลง มีสองกระบอก
2.2) กระบอกคว่ำ-หงาย คือ กระบอกไฮดรอลิคที่ทำหน้าที่เอียงเสาไปหน้าและหลัง มีสองกระบอก
2.3) กระบอกบังคับเลี้ยว คือ กระบอกไอดรอลิคที่ทำหน้าที่บังคับการเลี้ยวของรถยก มีหนึ่งกระบอก
3. งารถยก (Fork) คือ อุปกรณ์ที่ใช้ยกสัมภาระต่าง ๆ และงารถยกยังเป็นอุปกรณ์ที่ "อันตราย" ที่สุด งานของรถยกมีหลายประเภท ขึ้นอยู่กับลักษณะของสัมภาระที่จะยก
4. ล้อหน้า (Front Wheel) คือ ล้อที่มีหน้าที่ 3 ประการ ดังนี้
4.1) รับน้ำหนักบรรทุก หรือ ล้อโหลด
4.2) ขับเคลื่อน
4.3) เบรค ล้อของรถยกไฟฟ้าแบบยืนขับ จะมีล้ออยู่ 3 ชนิด ดังนี้ - ล้อรับน้ำหนักบรรทุก หรือ ล้อโหลด - ล้อขับเคลื่อน - ล้อประคอง
5. ล้อหลัง (Rear Wheel) คือ ล้อที่ทำหน้าที่บังคับเลี้ยวเพียงอย่างเดียว
:: ทำไมเราต้องตรวจสภาพรถยก ก่อน และ หลัง การใช้งาน
1. เพื่อให้รถยกมีสภาพพร้อมใช้งาน
2. เพื่อความปลอดภัยของคนขับรถยกและผู้ร่วมงาน
3. เพื่อประหยัดค่าใช้จ่ายให้กับองค์กร
:: การสังเกตุการทำงานของรถยก การสังเกตุการทำงานของรถยก หมายถึง ในขณะที่ใช้งานรถยกระหว่างวัน จะต้องคอยสังเกตการทำงานของอุปกรณ์ต่าง ๆ ของรถยกด้วย ว่ามีสิ่งผิดปกติเกิดขึ้นหรือไม่ เช่น 1.) การทำงานของเบรค เช่น เมื่อใช้เบรคจะมีเสียงดัง หรือ เบรคไม่อยู่ 2.) การทำงานของเครื่องยนต์ เช่น เร่งเครื่องแล้วสะดุด หรือ มีเสียงผิดปกติ 3.) สังเกตุเกย์วัดอุณหภูมิของเครื่องยนต์อยู่เสมอ ถ้าพบสิ่งผิดปกติจะต้องรีบดำเนินการแก้ไข 4.) สังเกตุการทำงานของระบบไฮดรอลิค เช่น เวลายกสัมภาระจะต้องเร่งเครื่องยนต์มากขึ้น หรือ เวลาเลี้ยวใช้แรงมากขึ้น
:: การจ่ายไฟของแบตเตอรี่รถยก เมื่อ Cell แบตเตอรรี่ถูกชาร์ด้วยพลังงานไฟฟ้า Cell จะเปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานเคมี และเก็บรักษาไว้ เมื่อทำการจ่ายไฟ Cell จะเปลี่ยนพลังงานเคมีกลับเป็นพลังงานไฟฟ้า และสำหรับ Cell ที่ใช้เป็นพลังงานขับเคลื่อนรถโฟร์คลิฟท์ คือ แบตเตอรี่ชนิด ตะกั่ว + กรด (Lead acid storage batterry)
:: ข้อดีของการใช้แบตเตอรี่ชนิด ตะกั่ว + กรด 1.) สามารถเก็บพลังงานและนำไปใช้ในสถานที่ต่าง ๆ ได้ โดยไม่มีสายไฟต่อพลังงานไฟฟ้าจากที่อื่น 2.) เป็นกระแสไฟฟ้า DC ที่ไหลสม่ำเสมอ ซึ่งเป็นผลดีต่อ Speed controller ในการขับเคลื่อนมอเตอร์ 3.) มีความคงทน และอายุยาวนาน ทนต่อการสั่นสะเทือนและแรงกระแทกได้ดี 4.) ไม่มีเสียงดังรบกวนในขณะใช้งาน ซึ่งเป็นการป้องกันมลภาวะทางเสียงและอากาศ 5.) เป็นการง่ายในการดูแลบำรุงรักษา และการนำไปใช้งาน โดยผู้ใช้งานที่ไม่ต้องมีความรู้มากนัก และการดูแลก็เพียงแต่เตรียมน้ำกลั่นไว้เติมเมื่อระดับนำกรดพร่องเท่านั้น
:: การบำรุงรักษาแบตเตอรี่และข้อควรระวังในการชาร์จแบตเตอรี่
1.) อายุการใช้งานของแบตเตอรี่ขึ้นอยู่กับจำนวนครั้งในการชาร์จ ดังนั้น ควรจะชาร์จแบตเตอรี่ก็ต่อเมื่อได้ใช้กระแสไฟฟ้าใกล้จะหมด และในการชาร์จแต่ละครั้งจะต้องชาร์จต่อเนื่องเป็นเวลา 8 ชั่วโมงติดต่อกัน 2.) บริเวณที่ใช้เป็นที่ชาร์จแบตเตอรี่จะต้องเป็นสถานที่ที่อากาศสามารถถ่ายเทได้ดี เนื่องจากในขณะที่ชาร์จ น้ำกลั่นจะระเหยออกมา
3.) ก่อนทำการชาร์จแบตเตอรี่จะต้องเปิดฝาจุดเติมน้ำกลั่น เพื่อตรวจเช็คระดับน้ำกลั่นให้อยู่ในระดับพอดี และตรวจสอบสภาพปลั๊กไฟว่าอยู่ในสภาพที่สมบูรณ์ ไม่ชำรุด หรือแตกร้าว หรือไม่ถ้าชำรุดจะต้องดำเนินการแก้ไขก่อนทำการชาร์จ
4.) จะต้องเสียบปลั๊กของแบตเตอรี่กับตู้ชาร์จให้แน่น เพื่อไม่ให้เกิดการอาร์ดของกระแสไฟ
5.) จะต้องตรวจสอบขั้ว สะถานไฟ สายไฟ ของแบตเตอรี่ให้อยู่ในสภาพที่สมบูรณ์
6.) ถ้าขั้วแบตเตอรี่ และผิวของแบตเตอรี่ด้านบนสกปรก หรือมีขี้เกลือเกาะให้ทำความสะอาดด้วยน้ำร้อน และเช็ดให้แห้ง
7.) ควรให้ช่างผู้ชำนาญงานตรวจเช็คค่าถ่วงนำเพาะ และแรงดันของเซลล์แบตเตอรี่แต่ละเซลล์ว่าอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานหรือไม่ อย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง
1. ตรวจดูความสะอาดภายนอก
2. ตรวจระดับน้ำในหม้อน้ำและหม้อพักน้ำ
3. ตรวจระดับน้ำมันเครื่อง
4. ตรวจดูระดับน้ำมันเชื้อเพลิง
5. ตรวจดูระดับน้ำมันเกียร์อัตโนมัติ
6. ตรวจระดับน้ำมันไฮโดรลิค
7. ตรวจระดับน้ำมันเกียร์พวงมาลัย
8. ตรวจดูระดับน้ำมันเบรค
9. ตรวจระดับน้ำกลั่นแบตเตอรี่
10. ตรวจความตึงของสายพานเครื่องยนต์
11. ตรวจการทำงานของเบรคมือและขาเบรค
12. ตรวจระบบสัญญาณไฟเลี้ยว ไฟถอยหลัง ไฟส่องสว่างและสัญญาณแตร
13. ตรวจสภาพความตึงของโซ่ยกของ
14. ตรวจสภาพยาง
15. ตรวจวัดลมยางและเติมให้ได้แรงดันตามที่กำหนดไว้
16. ตรวจรอยรั่วซึมตามจุดต่าง ๆ
หลังติดเครื่อง
1. ตรวจเช็คว่ามีเสียงดังผิดปกติจากเครื่องยนต์หรือไม่
2. ตรวจดูไฟที่หน้าปัดดับหมดหรือไม่
3. ตรวจระยะฟรีของพวงมาลัยและการบังคับเลี้ยว
4. ตรวจการทำงานของชุดควบคุมอุปกรณ์ยกงาว่าทำงานเรียบร้อยหรือไม่
หลังการใช้งาน ขณะเครื่องยนต์ยังติดอยู่
1. จอดรถในสถานที่จอดรถกำหนดไว้
2. ลดงาของรถให้อยู่ในแนวราบกับพื้นโรงงาน
3. ล็อคเบรคมือให้เรียบร้อย
4. หล่อลื่นตามจุดต่าง ๆ ให้เรียบร้อย เช่น โซ่ยกของ ชุดแผ่นทองเหลืองหลังเสา
5. ตรวจเช็คดูการรั่วซึมจากการใช้งาน เช่น น้ำมันไฮโดรลิค น้ำมันเกียร์ น้ำมันเครื่อง และน้ำในหม้อน้ำ
6. ตรวจเช็คฟังเสียงว่ามีเสียงอะไรผิดปกติหรือไม่
7. หลังจากการใช้งาน ควรปล่อยให้เครื่องยนต์เดินเบาในตำแหน่งเกียร์ว่างประมาณ 3 นาที จึงค่อยดับเครื่องยนต์
หลังดับเครื่องยนต์
1. เติมน้ำมันให้เต็มถังเพื่อพร้อมการใช้งานในวันต่อไป
2. ปลดเกียร์ว่างไว้เสมอ และดึงลูกกุญแจรถออกเก็บยังที่เก็บ
วันศุกร์ที่ 29 ตุลาคม พ.ศ. 2553
เรื่องของรถยกแบบต่างๆ
รถยกแบบต่างๆ
ตุลาคม 28, 2010
เรื่องของรถยก
ถึงแม้ว่าในขณะนี้เมืองไทยเรามีการพัฒนาในด้านอุตสาหกรรมก้าวหน้าไปกว่าแต่ก่อนอย่างมาก แต่ยังมีอีกสิ่งหนึ่งที่เรายังมองข้าม คือความสนใจในการพัฒนานำเครื่องทุ่นแรง
(Material Handling) มาใช้ประโยชน์ยังมีอยู่น้อย
ความจริงแล้วหากมีการนำมาประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับงานจะทำให้สามารถเพิ่มประสิทธิภาพได้อย่างมาก สามารถประหยัดเนื้อที่โกดังเก็บสินค้าและวัตถุดิบเป็นการพยายามใช้ประโยชน์ตามแนวตั้งให้มากขึ้น ประหยัดค่าใช้จ่ายและแรงงานได้ รถยกนับได้ว่าเป็นหนึ่งในเครื่องทุ่นแรงที่ใช้ประโยชน์กันได้แทบทุกโรงงาน ซึ่งความจริงแล้วมีให้เลือกใช้งานหลายรูปแบบหากจะแบ่งเป็นชนิดใหญ่ๆ ก็แบ่งได้เป็น 2 ชนิด คือ
1. รถยกระดับต่ำ (Low Lift Trucks) รถยกแบบนี้เป็นเครื่องทุ่นแรงที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของหนักๆไปตามพื้นราบ จากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่ง ระยะยกจะเตี้ยเพียง 4 นิ้ว ถึง 6 นิ้ว โดยมีจุดประสงค์เพียงให้ของที่จะยกอยู่พ้นจากพื้นในขณะที่เราลากเคลื่อนที่เท่านั้น ตัวอย่างการใช้งาน เช่น ขยับเครื่องจักรให้พ้นจากพื้น เพื่อหนุนหมอนรอง, การใช้เคลื่อนย้ายแม่พิมพ์เหล็กที่มีน้ำหนักมากๆจากโกดังมายังจุดที่ใช้งาน, หรือการเคลื่อนย้ายสินค้าที่วางบนแท่นไม้ (Pallet)
รถยกระดับต่ำ แบบที่นิยมใช้กันมากเรียกว่า Pallet Truck ซึ่งมีลักษณะเป็น 2 งายกมีล้อเล็กๆ อยู่ที่ส่วนปลายของงายกซึ่งสามารถยกให้สูงขึ้นจากพื้นเล็กน้อย เมื่อต้องการยกของแล้วลากไปหรือหดให้ต่ำลงในขณะที่ต้องการจะช้อนของขึ้น โดยอาศัยระบบไฮดรอลิกในการผ่อนกำลังขณะยก ล้อหลังเป็นล้อคู่ใหญ่ ซึ่งบังคับเลี้ยวได้ด้วย มีคั้นโยกเพื่อบังคับปั้มไฮครอลิกให้ยกของขึ้น-ลง และใช้ลากจูงพร้อมทั้งบังคับเลี้ยวไปได้ในตัว
รถ Pallet Truck นี้นับได้ว่าเป็นรถยกที่มีราคาถูกที่สุด จึงมีผู้นิยมใช้กันอย่างแพร่หลายเกือบทุกโรงงาน อย่างไรก็ตามผู้ผลิตรถ Pallet Truck ก็ได้พยายามคิดค้นปรับปรุงคุณภาพของรถยกให้เหมาะสมกับการใช้งานลักษณะต่างๆ เช่น มีการพัฒนาล้อหน้าที่เป็นงายก ซึ่งปกติเป็นล้อเดี่ยว อาจมีปัญหาในการใช้งานตามพื้นที่ที่ขรุขระหรือการลากขึ้นเนินมีการดัดแปลงเป็นล้อคู่ ทำให้ลากผ่านพื้นที่ขรุขระได้อย่างสะดวก อีกทั้งเป็นการเฉลี่ยน้ำหนักที่ถ่ายลงพื้นอีกด้วย เพราะมีจุดถ่ายน้ำหนักเพิ่มเป็น 6 จุด
นอกจากนี้แล้ววัสดุที่ใช้ทำล้อยังมีหลายชนิด เช่น เป็นล้อไนล่อน (Nylon) เหมาะกับพื้นที่แข็งและเรียบ เพราะล้อไนล่อนจะสึกหรอได้ยากแต่ลื่นทำให้เบาแรงแต่ถ้าจะลากบนพื้นที่อ่อน เช่น พื้นไม้หรือต้องการไม่ให้เกิดเสียงดังในขณะลากผ่านก็จะใช้ล้อโพลียูรีเทน (Polyurethane) แต่ถ้าลากผ่านพื้นที่เป็นกรวดหรือขรุขระมากๆอาจจะทำลายล้อได้ง่าย ก็จะใช้ล้อเหล็กแทน
เนื่องจากสภาพในโรงงานต่างๆไม่เหมือนกัน บางโรงงานจะมีสภาพที่เปียกน้ำอยู่เสมอ บางโรงงานจะต้องอยู่ในบรรยากาศที่ร้อนหรือเย็นจัด หรืออยู่ในสภาพที่มีการกัดกร่อนมากกกว่าปกติ ดังนั้นการเลือกใช้รถยก Pallet Truck จำเป็นต้องเลือกชนิดที่ผู้ผลิตได้สร้างขึ้นเป็นพิเศษ เช่นแกนล้อเป็นสเตนเลส งายกทำด้วยเหล็กชุบสังกะสี นอกจากนี้แล้วเพื่อเหมาะกับการวางของหลายๆชิ้น ก็มีการสร้างรถยกที่เป็นพื้นเรียบใหญ่แทน ที่จะเป็นขา 2 ขาให้เลือกใช้อีกด้วย เป็นต้น
เพื่อจะเป็นการผ่อนแรงสำหรับการปฏิบัติงานของพนักงานที่ต้องการลากของหนักๆ ก็มีการพัฒนารถยก Pallet Truck แบบติดตั้งมอเตอร์ช่วยผ่อนแรงโดยมีแบตเตอรี่เป็นแหล่งพลังงานทำให้สามารถยกและลากของหนักได้ถึง 3 ตัน
2. รถยกระดับสูง (High Lift Trucks) รถยกแบบนี้เป็นเครื่องทุ่นแรงซึ่งนอกจะใช้เคลื่อนที่ของหนักไปตามพื้นที่ราบแล้ว ยังใช้ยกของขึ้นวางบนหอที่อยู่สูงได้ นับเป็นเครื่องทุ่นแรงที่จะเพิ่มประสิทธิภาพการจัดเก็บสินค้า และวัตถุดิบในโกดังให้เป็นระเบียบเรียบร้อย และประหยัดพื้นที่ได้อย่างสูงมาก ด้วยเครื่องทุ่นแรงนี้สินค้าหรือวัตถุดิบจะวางบนกระบะไม้ รถจะยกช้อนทั้งกระบะไปวางบนหิ้งหรือถ้าสินค้ามีภาชนะบรรจุที่รับน้ำหนักได้ เช่น เป็นถัง ก็อาจจะไม่จำเป็นต้องมีหิ้งแต่จะใช้วิธีช้อนกระบะขึ้นไปก็ได้
รถยกระดับสูงนี้มีผู้ผลิตสร้างขึ้นมาหลายรูปแบบ เพื่อให้เหมาะสมกับการใช้งานของลูกค้าโดยพยายามให้ตัวรถมีขนาดเล็ก มีความคล่องตัวในการหมุนกลับตัว เพื่อจะไปแทรกตัวเข้าไปในช่องทางเดินระหว่างชั้นเก็บของได้สะดวก ทำให้ไม่ต้องเผื่อที่กว้างนักจะได้จัดโกดังได้ประสิทธิภาพ นอกจากนี้ยังมีการคำนึงถึงความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติงานอีกด้วย จึงได้เกิดรถยกระดับสูงหลายรูปแบบซึ่งจะขอยกตัวอย่าง 3 รูปแบบในที่นี้
2.1 รถยกแบบเดินตาม (Pedestrain stacker) เป็นรถยกระดับสูงที่กินเนื้อที่น้อยที่สุด สามารถมุดเข้าไปในตู้คอนเทนเนอร์ (Container) ซึ่งกระบะของรถบรรทุกหรือเข้าไปในตู้รถไฟได้ รถชนิดนี้ผู้ปฏิบัติงานเคลื่อนไหวได้อิสระจะยืนที่ตำแหน่งใดรอบตัวรถก็ได้ ทำให้มองเห็นทัศนียภาพได้ชัดเจน มีมอเตอร์ช่วยผ่อนแรงในการยกน้ำหนักและการเคลื่อนที่ ในขณะที่รถแล่นอาจจะปล่อยที่วางเท้าลงแล้วผู้ปฏิบัติงานยืนบนที่วางเท้าทำให้สบายขึ้น ระบบความปลอดภัยก็ได้จัดให้มีที่ป้องกันเท้าไม่ให้สอดเข้าไปทุกล้อ เพื่อป้องกันล้อทับเท้าได้ นอกจากนี้ยังมีระบบเบรกและคันโยกบังคับ ที่มีปุ่มบังคับต่างๆอยู่พร้อม ทำให้ปฏิบัติงานได้สะดวก จุดศูนย์ถ่วงได้รับการออกแบบให้อยู่ภายในตัวรถทำให้ปลอดภัยไม่คว่ำขณะยกของขึ้นสูง รถชนิดนี้จึงเหมาะกับงานที่มีการเคลื่อนที่ไม่ไกลและยกน้ำหนักไม่มากนัก โดยปกติแล้วผู้ผลิตจะออกแบบให้สามารถยกน้ำหนักได้ประมาณ 1.2 ตัน ยกได้สูงที่สุดประมาณ 5 เมตร ในขณะที่เคลื่อนที่อาจจะอยู่เหนือพื้นดินประมาณ 145 มิลลิเมตร เพื่อไม่ให้ขูดถูกพื้น และความเร็วในการเคลื่อนที่ประมาณ
6-8 กม./ชม
2.2 รถยกแบบยืน (stand on stacker) เ นื่องจากโกดังบางแห่งมีการกองสินค้าหรือวัตถุดิบไว้สูงมาก โรงงานบางแห่งก็มีโรงซ่อมบำรุงซึ่งมักมีกองวัสดุเหลือใช้ค่อนข้างไม่เป็นระเบียบ อาจเกิดอันตรายได้ง่าย จึงมีการออกแบบรถยกแบบยืน ที่ให้ผู้ปฏิบัติงานยืนอยู่ในเสา 4 เสาที่แข็งแรงป้องกันอันตรายจากของหล่นทับลงมาบนศีรษะเขาได้ ถ้ามีอะไรมากระแทกก็จะกระแทกถูกเสาก่อน เป็นการรับรองความปลอดภัยให้ผู้ปฏิบัติงาน การบังคับให้รถหยุดก็สามารถบังคับได้ทั้งจากเท้าเหยียบหรือโยกคันโยกด้วยมือ ซึ่งทำให้ผู้ปฏิบัติงานสามารถยืนอยู่บนเท้าทั้งสองได้ไม่ต้องยืนเท้าเดียวซึ่งอาจไม่ถนัด
รถยกแบบนี้จึงเหมาะสมกับงานที่ต้องการความปลอดภัยและต้องมีการยกขึ้นลงบ่อยๆมีการเคลื่อนที่ไม่ไกลนัก
2.3 รถยกแบบนั่ง (Rider seated stacker)
ในกรณีที่ต้องมีการเคลื่อนย้ายไประยะไกลขึ้นหรือต้องการทำงานติดต่อกันตลอดทั้งวัน จำเป็นต้องอำนวยความสะดวกแก่ผู้ปฏิบัติงานเพิ่มขึ้น คือ ทำที่นั่งให้ภายในตัวรถ ซึ่งจะทำให้กินเนื้อที่มากกว่าแบบยืนเล็กน้อย รถชนิดนี้จะแปลกสักหน่อยที่ผู้ปฏิบัติงานจะนั่งหันข้างให้กับการเคลื่อนที่ ทั้งนี้ต้องออกแบบให้กะทัดรันที่สุด รถประเภทนี้มีอุปกรณ์ต่างๆ เหมือนกับรถขับ มีคันเร่ง มีเบรกที่บังคับด้วยเท้า ความเร็วในขณะเคลื่อนที่ประมาณ 8-12 กม./ชม. ผู้ปฏิบัติงานจะได้รับการป้องกันด้วยเสารอบด้าน และหลังคาด้านบน
รถยกแบบนั่งอีกแบบหนึ่งที่นิยมใช้กันมากในเมืองไทย คือรถ Fork lift ซึ่งผู้ปฏิบัติงานนั่งหันหน้าไปในทิศทางการเคลื่อนที่ของรถ โดยมีงายก 2 งายกอยู่ด้านหน้ารถ ซึ่งยกขึ้นลงได้สูงและรถขับเคลื่อนด้วยเครื่องยนต์ดีเซล, เบนซิน, หรือมอเตอร์ไฟฟ้าตามแต่จะเลือกใช้ให้เหมาะสมกับงาน อย่างไรก็ตามรถแบบนี้จะกินเนื้อที่ยาวกว่าแบบที่กล่าวข้างต้น เวลาเลี้ยวจะต้องตีวงกว้างขึ้น แต่ก็สะดวกในการขับระยะทางไกลระหว่างโกดังต่างๆ เพราะผู้ปฏิบัติงานไม่ต้องบิดคอตลอดเวลา และห้องคนขับก็กว้างขวางกว่าด้วย น้ำหนักตัวรถพร้อมเครื่องมีมาก ทำให้ถ่วงน้ำหนักเป็นผลให้ยกน้ำหนักได้มากขึ้น
นอกจากรถยกแบบต่างๆที่กล่าวข้างต้นแล้ว ยังอาจจะมีแบบพิเศษอื่นที่ผู้ผลิตออกแบบให้เหมาะสมกับงานชนิดพิเศษต่างๆ ดังนั้นหากท่านจะเลือกใช้ต้องสำรวจความต้องการและสภาพในโรงงานของท่าน แล้วเลือกดูจากผู้ผลิตรายต่างๆว่าแบบใดตรงกับความต้องการของท่าน ท่านต้องเลือกทั้งลักษณะการใช้งาน,น้ำหนักที่จะยก, ความสูงที่ต้องการยก, ขนาดความกว้าง, วงเลี้ยว, การขับเคลื่อนวัสดุที่ใช้ในชิ้นส่วนต่างๆ สามารถทนต่อสภาพแวดล้อมได้หรือไม่, ฯลฯ รถยกประเภทต่างๆ ในเมืองไทยมีทั้งที่ผลิตในประเทศและที่ส่งเข้าจากต่างประเทศ ซึ่งย่อมมีข้อดีข้อเสียบางประการแตกต่างกัน จึงขึ้นอยู่กับรายละเอียดที่ท่านต้องพิจารณาเลือกให้เหมาะสมกับงานของท่าน
WWW.PCNFORKLIFT.COM
ถึงแม้ว่าในขณะนี้เมืองไทยเรามีการพัฒนาในด้านอุตสาหกรรมก้าวหน้าไปกว่าแต่ก่อนอย่างมาก แต่ยังมีอีกสิ่งหนึ่งที่เรายังมองข้าม คือความสนใจในการพัฒนานำเครื่องทุ่นแรง
(Material Handling) มาใช้ประโยชน์ยังมีอยู่น้อย
ความจริงแล้วหากมีการนำมาประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับงานจะทำให้สามารถเพิ่มประสิทธิภาพได้อย่างมาก สามารถประหยัดเนื้อที่โกดังเก็บสินค้าและวัตถุดิบเป็นการพยายามใช้ประโยชน์ตามแนวตั้งให้มากขึ้น ประหยัดค่าใช้จ่ายและแรงงานได้ รถยกนับได้ว่าเป็นหนึ่งในเครื่องทุ่นแรงที่ใช้ประโยชน์กันได้แทบทุกโรงงาน ซึ่งความจริงแล้วมีให้เลือกใช้งานหลายรูปแบบหากจะแบ่งเป็นชนิดใหญ่ๆ ก็แบ่งได้เป็น 2 ชนิด คือ
1. รถยกระดับต่ำ (Low Lift Trucks) รถยกแบบนี้เป็นเครื่องทุ่นแรงที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของหนักๆไปตามพื้นราบ จากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่ง ระยะยกจะเตี้ยเพียง 4 นิ้ว ถึง 6 นิ้ว โดยมีจุดประสงค์เพียงให้ของที่จะยกอยู่พ้นจากพื้นในขณะที่เราลากเคลื่อนที่เท่านั้น ตัวอย่างการใช้งาน เช่น ขยับเครื่องจักรให้พ้นจากพื้น เพื่อหนุนหมอนรอง, การใช้เคลื่อนย้ายแม่พิมพ์เหล็กที่มีน้ำหนักมากๆจากโกดังมายังจุดที่ใช้งาน, หรือการเคลื่อนย้ายสินค้าที่วางบนแท่นไม้ (Pallet)
รถยกระดับต่ำ แบบที่นิยมใช้กันมากเรียกว่า Pallet Truck ซึ่งมีลักษณะเป็น 2 งายกมีล้อเล็กๆ อยู่ที่ส่วนปลายของงายกซึ่งสามารถยกให้สูงขึ้นจากพื้นเล็กน้อย เมื่อต้องการยกของแล้วลากไปหรือหดให้ต่ำลงในขณะที่ต้องการจะช้อนของขึ้น โดยอาศัยระบบไฮดรอลิกในการผ่อนกำลังขณะยก ล้อหลังเป็นล้อคู่ใหญ่ ซึ่งบังคับเลี้ยวได้ด้วย มีคั้นโยกเพื่อบังคับปั้มไฮครอลิกให้ยกของขึ้น-ลง และใช้ลากจูงพร้อมทั้งบังคับเลี้ยวไปได้ในตัว
รถ Pallet Truck นี้นับได้ว่าเป็นรถยกที่มีราคาถูกที่สุด จึงมีผู้นิยมใช้กันอย่างแพร่หลายเกือบทุกโรงงาน อย่างไรก็ตามผู้ผลิตรถ Pallet Truck ก็ได้พยายามคิดค้นปรับปรุงคุณภาพของรถยกให้เหมาะสมกับการใช้งานลักษณะต่างๆ เช่น มีการพัฒนาล้อหน้าที่เป็นงายก ซึ่งปกติเป็นล้อเดี่ยว อาจมีปัญหาในการใช้งานตามพื้นที่ที่ขรุขระหรือการลากขึ้นเนินมีการดัดแปลงเป็นล้อคู่ ทำให้ลากผ่านพื้นที่ขรุขระได้อย่างสะดวก อีกทั้งเป็นการเฉลี่ยน้ำหนักที่ถ่ายลงพื้นอีกด้วย เพราะมีจุดถ่ายน้ำหนักเพิ่มเป็น 6 จุด
นอกจากนี้แล้ววัสดุที่ใช้ทำล้อยังมีหลายชนิด เช่น เป็นล้อไนล่อน (Nylon) เหมาะกับพื้นที่แข็งและเรียบ เพราะล้อไนล่อนจะสึกหรอได้ยากแต่ลื่นทำให้เบาแรงแต่ถ้าจะลากบนพื้นที่อ่อน เช่น พื้นไม้หรือต้องการไม่ให้เกิดเสียงดังในขณะลากผ่านก็จะใช้ล้อโพลียูรีเทน (Polyurethane) แต่ถ้าลากผ่านพื้นที่เป็นกรวดหรือขรุขระมากๆอาจจะทำลายล้อได้ง่าย ก็จะใช้ล้อเหล็กแทน
เนื่องจากสภาพในโรงงานต่างๆไม่เหมือนกัน บางโรงงานจะมีสภาพที่เปียกน้ำอยู่เสมอ บางโรงงานจะต้องอยู่ในบรรยากาศที่ร้อนหรือเย็นจัด หรืออยู่ในสภาพที่มีการกัดกร่อนมากกกว่าปกติ ดังนั้นการเลือกใช้รถยก Pallet Truck จำเป็นต้องเลือกชนิดที่ผู้ผลิตได้สร้างขึ้นเป็นพิเศษ เช่นแกนล้อเป็นสเตนเลส งายกทำด้วยเหล็กชุบสังกะสี นอกจากนี้แล้วเพื่อเหมาะกับการวางของหลายๆชิ้น ก็มีการสร้างรถยกที่เป็นพื้นเรียบใหญ่แทน ที่จะเป็นขา 2 ขาให้เลือกใช้อีกด้วย เป็นต้น
เพื่อจะเป็นการผ่อนแรงสำหรับการปฏิบัติงานของพนักงานที่ต้องการลากของหนักๆ ก็มีการพัฒนารถยก Pallet Truck แบบติดตั้งมอเตอร์ช่วยผ่อนแรงโดยมีแบตเตอรี่เป็นแหล่งพลังงานทำให้สามารถยกและลากของหนักได้ถึง 3 ตัน
รถยกระดับสูงนี้มีผู้ผลิตสร้างขึ้นมาหลายรูปแบบ เพื่อให้เหมาะสมกับการใช้งานของลูกค้าโดยพยายามให้ตัวรถมีขนาดเล็ก มีความคล่องตัวในการหมุนกลับตัว เพื่อจะไปแทรกตัวเข้าไปในช่องทางเดินระหว่างชั้นเก็บของได้สะดวก ทำให้ไม่ต้องเผื่อที่กว้างนักจะได้จัดโกดังได้ประสิทธิภาพ นอกจากนี้ยังมีการคำนึงถึงความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติงานอีกด้วย จึงได้เกิดรถยกระดับสูงหลายรูปแบบซึ่งจะขอยกตัวอย่าง 3 รูปแบบในที่นี้
2.1 รถยกแบบเดินตาม (Pedestrain stacker) เป็นรถยกระดับสูงที่กินเนื้อที่น้อยที่สุด สามารถมุดเข้าไปในตู้คอนเทนเนอร์ (Container) ซึ่งกระบะของรถบรรทุกหรือเข้าไปในตู้รถไฟได้ รถชนิดนี้ผู้ปฏิบัติงานเคลื่อนไหวได้อิสระจะยืนที่ตำแหน่งใดรอบตัวรถก็ได้ ทำให้มองเห็นทัศนียภาพได้ชัดเจน มีมอเตอร์ช่วยผ่อนแรงในการยกน้ำหนักและการเคลื่อนที่ ในขณะที่รถแล่นอาจจะปล่อยที่วางเท้าลงแล้วผู้ปฏิบัติงานยืนบนที่วางเท้าทำให้สบายขึ้น ระบบความปลอดภัยก็ได้จัดให้มีที่ป้องกันเท้าไม่ให้สอดเข้าไปทุกล้อ เพื่อป้องกันล้อทับเท้าได้ นอกจากนี้ยังมีระบบเบรกและคันโยกบังคับ ที่มีปุ่มบังคับต่างๆอยู่พร้อม ทำให้ปฏิบัติงานได้สะดวก จุดศูนย์ถ่วงได้รับการออกแบบให้อยู่ภายในตัวรถทำให้ปลอดภัยไม่คว่ำขณะยกของขึ้นสูง รถชนิดนี้จึงเหมาะกับงานที่มีการเคลื่อนที่ไม่ไกลและยกน้ำหนักไม่มากนัก โดยปกติแล้วผู้ผลิตจะออกแบบให้สามารถยกน้ำหนักได้ประมาณ 1.2 ตัน ยกได้สูงที่สุดประมาณ 5 เมตร ในขณะที่เคลื่อนที่อาจจะอยู่เหนือพื้นดินประมาณ 145 มิลลิเมตร เพื่อไม่ให้ขูดถูกพื้น และความเร็วในการเคลื่อนที่ประมาณ
6-8 กม./ชม
2.2 รถยกแบบยืน (stand on stacker) เ นื่องจากโกดังบางแห่งมีการกองสินค้าหรือวัตถุดิบไว้สูงมาก โรงงานบางแห่งก็มีโรงซ่อมบำรุงซึ่งมักมีกองวัสดุเหลือใช้ค่อนข้างไม่เป็นระเบียบ อาจเกิดอันตรายได้ง่าย จึงมีการออกแบบรถยกแบบยืน ที่ให้ผู้ปฏิบัติงานยืนอยู่ในเสา 4 เสาที่แข็งแรงป้องกันอันตรายจากของหล่นทับลงมาบนศีรษะเขาได้ ถ้ามีอะไรมากระแทกก็จะกระแทกถูกเสาก่อน เป็นการรับรองความปลอดภัยให้ผู้ปฏิบัติงาน การบังคับให้รถหยุดก็สามารถบังคับได้ทั้งจากเท้าเหยียบหรือโยกคันโยกด้วยมือ ซึ่งทำให้ผู้ปฏิบัติงานสามารถยืนอยู่บนเท้าทั้งสองได้ไม่ต้องยืนเท้าเดียวซึ่งอาจไม่ถนัด
รถยกแบบนี้จึงเหมาะสมกับงานที่ต้องการความปลอดภัยและต้องมีการยกขึ้นลงบ่อยๆมีการเคลื่อนที่ไม่ไกลนัก
2.3 รถยกแบบนั่ง (Rider seated stacker)
ในกรณีที่ต้องมีการเคลื่อนย้ายไประยะไกลขึ้นหรือต้องการทำงานติดต่อกันตลอดทั้งวัน จำเป็นต้องอำนวยความสะดวกแก่ผู้ปฏิบัติงานเพิ่มขึ้น คือ ทำที่นั่งให้ภายในตัวรถ ซึ่งจะทำให้กินเนื้อที่มากกว่าแบบยืนเล็กน้อย รถชนิดนี้จะแปลกสักหน่อยที่ผู้ปฏิบัติงานจะนั่งหันข้างให้กับการเคลื่อนที่ ทั้งนี้ต้องออกแบบให้กะทัดรันที่สุด รถประเภทนี้มีอุปกรณ์ต่างๆ เหมือนกับรถขับ มีคันเร่ง มีเบรกที่บังคับด้วยเท้า ความเร็วในขณะเคลื่อนที่ประมาณ 8-12 กม./ชม. ผู้ปฏิบัติงานจะได้รับการป้องกันด้วยเสารอบด้าน และหลังคาด้านบน
รถยกแบบนั่งอีกแบบหนึ่งที่นิยมใช้กันมากในเมืองไทย คือรถ Fork lift ซึ่งผู้ปฏิบัติงานนั่งหันหน้าไปในทิศทางการเคลื่อนที่ของรถ โดยมีงายก 2 งายกอยู่ด้านหน้ารถ ซึ่งยกขึ้นลงได้สูงและรถขับเคลื่อนด้วยเครื่องยนต์ดีเซล, เบนซิน, หรือมอเตอร์ไฟฟ้าตามแต่จะเลือกใช้ให้เหมาะสมกับงาน อย่างไรก็ตามรถแบบนี้จะกินเนื้อที่ยาวกว่าแบบที่กล่าวข้างต้น เวลาเลี้ยวจะต้องตีวงกว้างขึ้น แต่ก็สะดวกในการขับระยะทางไกลระหว่างโกดังต่างๆ เพราะผู้ปฏิบัติงานไม่ต้องบิดคอตลอดเวลา และห้องคนขับก็กว้างขวางกว่าด้วย น้ำหนักตัวรถพร้อมเครื่องมีมาก ทำให้ถ่วงน้ำหนักเป็นผลให้ยกน้ำหนักได้มากขึ้น
นอกจากรถยกแบบต่างๆที่กล่าวข้างต้นแล้ว ยังอาจจะมีแบบพิเศษอื่นที่ผู้ผลิตออกแบบให้เหมาะสมกับงานชนิดพิเศษต่างๆ ดังนั้นหากท่านจะเลือกใช้ต้องสำรวจความต้องการและสภาพในโรงงานของท่าน แล้วเลือกดูจากผู้ผลิตรายต่างๆว่าแบบใดตรงกับความต้องการของท่าน ท่านต้องเลือกทั้งลักษณะการใช้งาน,น้ำหนักที่จะยก, ความสูงที่ต้องการยก, ขนาดความกว้าง, วงเลี้ยว, การขับเคลื่อนวัสดุที่ใช้ในชิ้นส่วนต่างๆ สามารถทนต่อสภาพแวดล้อมได้หรือไม่, ฯลฯ รถยกประเภทต่างๆ ในเมืองไทยมีทั้งที่ผลิตในประเทศและที่ส่งเข้าจากต่างประเทศ ซึ่งย่อมมีข้อดีข้อเสียบางประการแตกต่างกัน จึงขึ้นอยู่กับรายละเอียดที่ท่านต้องพิจารณาเลือกให้เหมาะสมกับงานของท่าน
WWW.PCNFORKLIFT.COM
วันพฤหัสบดีที่ 28 ตุลาคม พ.ศ. 2553
รับซ่อมรถโฟล์คลิฟท์ไฟฟ้า forkliftน้ำมัน และ โฟล์คลิฟท์แก๊ส ทุกยี่ห้อ
PCN FORKLIFT THAILAND
ดำเนินธุรกิจให้บริการเกี่ยวกับรถโฟร์คลิฟท์ไฟฟ้า น้ำมัน และแก๊ส ในด้านการขาย เช่า ซ่อม อะไหล่ และบริการต่างๆ ที่เกี่ยวข้องอย่างครบวงจร ทางบริษัท มุ่งเน้นการบริการที่รวดเร็ว เพื่อไม่ให้กระทบต่อผลประกอบการของลูกค้าหรือให้ส่งผลน้อยที่สุดโดยทางบริษัทขอแจ้งรายละเอียดในเรื่องสินค้าและบริการดังนี้
-บริการซ่อมบำรุงรถโฟร์คลิฟท์(forklift repair)ทั้งระบบไฟฟ้า น้ำมัน แก๊ส
-บริการตรวจเช็คและบำรุงรักษารถโฟร์คลิฟท์(P.M.forklift)รายเดือนและรายปี
-บริการซ่อมแฮนดพาเลท ทุกชนิด
-จำหน่ายอะไหล่ทุกยี่ห้อ
-ให้บริการทั่วประเทศไทย
สนใจติดต่อ คุณ ปรีชา 0865182510 0865305606 029958850
http://www.pcnforklift.com/
ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift
ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift
WWW.PCNFORKLIFT.COM
ดำเนินธุรกิจให้บริการเกี่ยวกับรถโฟร์คลิฟท์ไฟฟ้า น้ำมัน และแก๊ส ในด้านการขาย เช่า ซ่อม อะไหล่ และบริการต่างๆ ที่เกี่ยวข้องอย่างครบวงจร ทางบริษัท มุ่งเน้นการบริการที่รวดเร็ว เพื่อไม่ให้กระทบต่อผลประกอบการของลูกค้าหรือให้ส่งผลน้อยที่สุดโดยทางบริษัทขอแจ้งรายละเอียดในเรื่องสินค้าและบริการดังนี้
-บริการซ่อมบำรุงรถโฟร์คลิฟท์(forklift repair)ทั้งระบบไฟฟ้า น้ำมัน แก๊ส
-บริการตรวจเช็คและบำรุงรักษารถโฟร์คลิฟท์(P.M.forklift)รายเดือนและรายปี
-บริการซ่อมแฮนดพาเลท ทุกชนิด
-จำหน่ายอะไหล่ทุกยี่ห้อ
-ให้บริการทั่วประเทศไทย
สนใจติดต่อ คุณ ปรีชา 0865182510 0865305606 029958850
http://www.pcnforklift.com/
ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift
ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift - ขาย / ซ่อม รถยก โฟล์คลิฟท์ มือสอง forklift
WWW.PCNFORKLIFT.COM
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)